กลุ่มวิชาภาษาญี่ปุ่น (01358) |
01358211 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง I (Intermediate Japanese I) 3(3-0-6)
พื้นฐาน : 01358104 หรือ 01358112
โครงสร้างของประโยคและความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ ในประโยค ฟัง พูด อ่านและเขียนข้อความ ศึกษาอักษรคันจิเพิ่มขึ้น
01358212 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง II (Intermediate Japanese II) 3(3-0-6)
พื้นฐาน : 01358211
โครงสร้างของประโยค วิเคราะห์รูปประโยคที่ซับซ้อน ฟัง พูด อ่านและเขียนคำศัพท์ ศึกษาอักษรคันจิเพิ่มขึ้น
01358221 การอ่านและรายงานภาษาญี่ปุ่น I 3(3-0-6)
(Japanese Reading and Oral Reports I)
พื้นฐาน : 01358104 หรือ 01358112
หลักการอ่าน อ่านเรื่องสั้นๆเพื่อจับใจความสำคัญ และศึกษารูปประโยคต่าง ๆ ฝึกการแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่าน
01358222 การอ่านและเขียนภาษาญี่ปุ่น II 3(3-0-6)
(Japanese Reading and Writing II)
วิชาที่ต้องเรียนก่อน : 01358221
อ่านเรื่องในระดับที่สูงขึ้นเพื่อจับใจความสำคัญ ศึกษาสำนวนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น ฝึกวิเคราะห์เรื่องอ่านและรายงานปากเปล่า
ประวัติและผลงาน
อาจารย์ ดร.ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช
Thanatthakul Phornthipphayaphanit, Ph.D.
ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์
ตำแหน่งทางบริหาร : ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรมฝ่ายบริหาร
สถานที่ทำงาน :
- สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เลขที่ 1 หมู่ 6 ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140
- โทร. 0-3428-1105 ถึง 7 โทรสาร 0-3435-1402 โทรศัพท์ (ภายใน) 3600-4
- E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
คุณวุฒิ:
- ปริญญาตรี : ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2554
- ปริญญาโท : ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์)
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2557
หัวข้อวิทยานิพนธ์
ไทย: คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
อังกฤษ: COLOR TERM IN THAI DURING THONBURI AND RATTANAKOSIN PERIOD
https://www-lib-ku-ac-th.kasetsart.idm.oclc.org/KUthesis/2557/thanatthakul-pho-all.pdf
- ปริญญาเอก : ปร.ด. (ภาษาศาสตร์)
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2563
หัวข้อวิทยานิพนธ์
ไทย: คำเรียกสีที่ใช้เปรียบเทียบเชิงประวัติในภาษาไทยตามแนวทางภาษาศาสตร์ปริชาน
อังกฤษ: A DIACHRONIC STUDY ON METAPHORICAL USES OF COLOR TERMS IN THAI:
A COGNITIVE LINGUISTICS APPROACH
http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1153
บทความวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์:
- ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช และจรัลวิไล จรูญโรจน์, ม.ล.. (2557). คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาศึกษาศาสตร์, สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (น. 452-459). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/index.php?/BKN/search_detail/result/13864
- ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช และนันทนา วงษ์ไทย. (2564). กระบวนการทางปริชานในการถ่ายโยงความหมายของคำเรียกสีในภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 40(1).(ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/254138/170062
บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์:
- ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2567). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของศาสนาพุทธและคริสต์ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(1). (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhnu/article/view/261911/183085
- ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2567). ภาษาและค่านิยมที่สะท้อนจากชื่อพรรคการเมืองไทยตั้งแต่พ.ศ. 2498-2566. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(2). (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
บทความวิชาการ:
- ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2558). ไข่แดง หอมแดง: ตาบอดสีหรือไม่มีคำเรียก. ใน หนังสือรวมบทความอาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
https://drive.google.com/file/d/16Nkgj9rk4ba2SyCjFH9E5XNQmK4RhPPu/view
ทุนวิจัย :
- เรื่อง “ภาษา ค่านิยม และภาพสะท้อนอุดมการณ์ทางการเมืองจากชื่อพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2498-2566"
- แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนทุนวิจัยประจำปีงบประมาณ 2566 จากศูนย์วิจัย ส่งเสริม และถ่ายทอด เทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ :
- ภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ภาษาไทย อรรถศาสตร์ และอรรถศาสตร์ปริชาน
รางวัลที่ได้รับ:
- รางวัลบุคลากรดีเด่นสายวิชาการ ด้านการเรียนการสอน กลุ่มอายุต่ำกว่า 40 ปี ประจำปี 2566 เนื่องในงานสถาปนาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ครบรอบ 30 ปี
งานบริการวิชาการ:
- วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 30 กรกฎาคม 2564
- วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 25 กรกฎาคม 2562
- วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 18 สิงหาคม 2561
- วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 20-22, 25 กรกฎาคม 2560
1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล (ไทย) :
|
นางสาวหทัยวรรณ์ สระทองโอน |
(อังกฤษ) :
|
Miss Hathaiwan Srathong-oon |
ตำแหน่ง :
|
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชำนาญการ |
ที่ทำงานสังกัด
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
โทรศัพท์ 099-5659361 อีเมล์ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
2.ประวัติ/วุฒิการศึกษา
ระดับปริญญาตรี (ไทย) :
|
วิทยาการจัดการ ปีที่จบ 2557 ประเทศไทย สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ |
(อังกฤษ) :
|
Business computer |
สถาบันที่จบ (ไทย) :
|
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสนเด็จเจ้าพระยา |
(อังกฤษ) :
|
Bansomdejchoaproya Rajabhat University |
กล่าวสุนทรพจน์ภาษาเกาหลี นิสิต ชั้นปีที่ 3 ภาควิชาศิลปศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ในหัวข้อ My Thailand
ที่มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี