ดร.อรประพิณ กิตติเวช

1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
                                      นางสาวอรประพิณ กิตติเวช
                                      Miss Onprapin Kittiveja
ตำแหน่งทางวิชาการ            อาจารย์
สังกัดสาขาวิชา                   ภาษาไทย ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail                              This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.    
                                       โทรสาร  0-3428-1057 
                                       โทรศัพท์  0-3428-1105-7  ต่อ 7213           
 
2.ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี                   ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2 ปีที่จบ 2539ประเทศไทย
                                       Bachelor of Arts (Thai)Second class honors
สาขา                                ภาษาไทย 
สถาบันที่จบ                        คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                       Faculty of Humanities Kasetsart University
 
ระดับปริญญาโท                  ศศ.ม. ภาษาศาสตร์ (ภาษาไทย)) ปีที่จบ 2543 ประเทศไทย
                                       Master of Arts Linguistics (Thai Linguistics)
สาขา                                ภาษาไทย
สถาบันที่จบ                        คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวข้อวิทยานิพนธ์                "การวิเคราะห์รูปแบบทางสัทวิทยาของคำยืมสองพยางค์จากภาษา
                                       ต่างประเทศที่ปรากฏในวรรณคดีไทย ในช่วง พุทธศักราช
                                       2325-2468"
                                       An Analysis of Phonological Configurations of Disyllabic
                                       Loanwords in Thai Literature from 1733-1925
 
ระดับปริญญาเอก                 อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาษาไทย ปีที่จบ 2559 ประเทศไทย
สาขา                                ภาษาไทย
สถาบันที่จบ                        คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หัวข้อวิทยานิพนธ์                "ทัศนคติต่อภาษาไทยถิ่นกำแพงแสนและการแปรของวรรณยุกต์ตาม
                                       ปัจจัยทางสังคม:การศึกษาแนวสัทศาสตร์เชิงสังคม"
       หัวข้อบทความวิจัย "ปัจจัยทางสังคมและทัศนคติของชาวกำแพงแสนต่อภาษาไทยถิ่นของตน"
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ/สนใจ
สัทศาสตร์,สัทวิทยา,ภาษาไทยถิ่น, ภาษาศาสตร์เชิงสังคม,  อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย, วรรณกรรมวิจารณ์, การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ
01361222
การอ่านภาษาไทยเชิงวิจารณ์ (Thai Critical Reading)
01361312
อิทธิพลภาษาต่างประเทศต่อภาษาไทย (Foreign Language Influences on Thai)
01361313
เสียงและระบบเสียงในภาษาไทย (Sounds and Sound System in Thai)
01361314
คำและประโยคในภาษาไทย (Words and Sentences in Thai)
01361331
ภาษาพูดกับภาษาเขียน (Spoken and Written Languages)
02724012
การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality Development)
 
3.ผลงานทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ/ตำราหรือหนังสือ (ที่ได้รับการตีพิมพ์)
 
บทความเรื่อง “ลักษณะการออกเสียงหน่วยเสียงวรรณยุกต์ต่ำ-ขึ้นในภาษาไทยมาตรฐานของคนกำแพงแสน”เอกสารอัดสำเนาประกอบการสัมมนาวิชาการภาษาและภาษาศาสตร์ ประจำปี 2549 เพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ ดร.พิณทิพย์  ทวยเจริญ และอาจารย์ ดร.ศิรินีเจนวิทย์การ  ในวาระอายุครบห้ารอบ (น. 66 – 79). วันศุกร์ที่ 8 กันยายน 2549 ณ ห้องอดุลย์วิเชียรเจริญ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)
 
หนังสือภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (01999021) “บทที่ 1 ความรู้เรื่องการสื่อสาร”,  ศูนย์วิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กรุงเทพฯ:  พิมพ์ครั้งที่ 6,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553
การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ/อบรม (ที่ได้รับอนุมัติจากหน่วยงานต้นสังกัด)
เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การแปลข่าว สารคดี และภาพยนตร์” ระหว่างวันที่ 27 – 28  มีนาคม 2547 ณ โรงแรมตรัง กรุงเทพฯ  โดยสมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 21 เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี คณะมนุษยศาสตร์  ระหว่างวันที่ 11 – 13 พฤษภาคม 2554  ณ อาคารวชิรานุสรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการ “The First International Conference on Thai and Asian Languages” ณ โรงแรมรามา การ์เด้น ในวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม  2554  จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “นโยบายภาษาของประเทศ : ภาวะวิกฤตที่ต้องแก้ไข”      ในวันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม 2554 เวลา 08.00 – 17.00 น. และวันอังคารที่ 30 สิงหาคม  เวลา 08.00 – 16.00 น.  ณ ห้องสัมมนา ชั้น 22  ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์  กรุงเทพมหานคร
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ “Thammasat International Symposium on Language and Linguistics 2011”  ในวันที่ 23 กันยายน 2554  ณ อาคารคณะศิลปศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 23 ระหว่างวันที่ 29 – 31 พฤษภาคม 2556  ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แก้ไขล่าสุดเมื่อ วันอังคาร, ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๓:๕๕

บุคลากร