บุคลากร

บุคลากร (53)

วันอังคาร, ๐๒ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๑๓:๒๐

ผศ.ดร.รัชดาวรรณ คงสัตย์

เขียนโดย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชดาวรรณ คงสัตย์


ประวัติ/วุฒิการศึกษา (Education)

Thai:      ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555

 English: Doctor of Philosophy in Linguistics, Thammasat University 2013  

อีเมล์ติดต่อ : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

More information: https://research.ku.ac.th/forest/Person.aspx?id=590104

สาขาและความเชี่ยวชาญ (Areas of Expertise)

  •    ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied linguistics)
  •    การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ
  •    ภาษาศาสตร์ – สัทศาสตร์และสัทวิทยา
  •    ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ – ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ ภาษาอังกฤษ

ผลงานตีพิมพ์ (Publications) 

  • รัชดาวรรณ คงสัตย์. (2563). “Welcome to Thailand” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว (English for Tourism) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1 หน้า 1-1 – 1-48. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • ดร.รัชดาวรรณ คงสัตย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, "การศึกษากลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษของนิสิตระดับปริญญาตรี", การจัดประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ –วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 วันที่ 24-25 ตุลาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร, 24 ตุลาคม 2562, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
  • ดร.รัชดาวรรณ คงสัตย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์, "ประสิทธิผลด้านโครงสร้างประโยคและด้านคำศัพท์จากการใช้เพลงภาษาอังกฤษในการสอนภาษาอังกฤษพื้นฐานของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์", ภาษาและภาษาศาสตร์, ปีที่ 36, ฉบับที่ 2, มกราคม - มิถุนายน 2561, หน้า 1-19
วันอังคาร, ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ๑๑:๕๙

ผศ.ดร.สุพัตรา สุจริตรักษ์

เขียนโดย

 

1. ข้อมูลประวัติส่วนตัว
       ชื่อ-สกุล (ไทย) (นาย/นางนางสาว)           สุพัตรา สุจริตรักษ์  
                    (อังกฤษ)                                   Suphatra Sucharitrak               
       ตำแหน่งทางวิชาการ (ตำแหน่งปัจจุบัน)    ผู้ช่วยศาสตราจารย์                                                  
       ตำแหน่งทางบริหาร                                ประธานคณะกรรมการดำเนินงานโครงการหลักสูตร
                                                                   ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ ภาคพิเศษ      
       สังกัดสาขาวิชา
       สาขาวิชา  ภาษาอังกฤษ  ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
       E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
 
2. ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี      (ไทย)         ครุศาสตร์บัณฑิต         ปีที่จบ    2535   ประเทศ   ไทย                  
สาขา                     (ไทย)          บริหารการศึกษา                                                                  
                           (อังกฤษ)        Educational Administration                                                 
สถาบันที่จบ            (ไทย)          วิทยาลัยครูเพชรบุรี                                                               
                           (อังกฤษ)        Phetchaburi Teacher’s College     
                                          
ระดับปริญญาโท      (ไทย)          ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต     ปีที่จบ    2548   ประเทศ ไทย                              
สาขา                     (ไทย)           การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ                                                 
                           (อังกฤษ)         Teaching English as a Foreign Language (TEFL)                                         
สถาบันที่จบ            (ไทย)            มหาวิทยาลัยศิลปกร                                                                                   
                           (อังกฤษ)         Silapakorn University                                                                             
หัวข้อวิทยานิพนธ์     (ไทย)         การพัฒนาและการใช้แบบฝึกทักษะการฟังภาษาอังกฤษสำหรับ
                                                นักศึกษาปริญญาตรี (ค้นคว้าอิสระ)
                           (อังกฤษ)         Development and Implementation of Authentic
                                                 English Listening Materials for The First Year
                                                 Undergraduate Students (Independent Studies)
 
ระดับปริญญาเอก     (ไทย)          ศิลปศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต       ปีที่จบ 2553       ประเทศ       ไทย                  
สาขา                     (ไทย)           ภาษาอังกฤษศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)                                                          
                           (อังกฤษ)         English Language Studies    (International Program)                                         
สถาบันที่จบ            (ไทย)           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี                                                                      
                           (อังกฤษ)         Suranaree University of Technology                                                        
หัวข้อวิทยานิพนธ์      (ไทย)         การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษสำหรับ
                                                 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์
                           (อังกฤษ)         The Development of CALL English Lessons for
                                                 Nursing Students
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
 
      1.วิธีการสอน การสอนโดยเน้นภาระงาน(Task-Based English), การสอนเชิงรุก (Active Learning) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษ (Computer-Assisted Language Learning or CALL)การสอนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (English for Specific Purposes)  การสอนโดยเน้นเนื้อหาเป็นหลัก (Content-Based Instruction) 
 
       2.การออกแบบสื่อการสอน/หลักสูตร (Course Development/Material Design and Development)
       3.เทคนิคการสอนทักษะการฟัง-พูด อ่าน-เขียน และ เทคนิคการสอนคำศัพท์
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1. วิชาการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้น
       2. วิชาไวยากรณ์และโครงสร้างพื้นฐานภาษาอังกฤษ       
       3. วิชาทักษะการพูดและการนำเสนอโครงงานภาษาอังกฤษ
       4.  วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการสำนักงาน
       5.  วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์
 
3. ผลงานทางวิชาการ
      
  3.1 บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร
 
1.อุดมกฤษฏิ์ ศรีนนท์, สุพัตรา สุจริตรักษ์, รัชดาวรรณ คงสัตย์และคณะ (2566). การจัดการค่ายภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในยุค New Normal: อุปสรรคและความท้าทาย. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และบูรณาการภาษา ครั้งที่ 4 พ.ศ.2565 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (23-32).
 
2.Sucharitrak, S.(2021). Utilizing Dictation Techniques into the Process Writing Instruction:
Improving Undergraduate Students' English Writing Performance. Manutsat Wichakarn Journal, Kasetsart University, 28(2), pp.265-310  
 
3.Sucharitrak, P., & Sucharitrak P. (2021). School Management Model to Promote Learners 21st Century Skills. Journal of Education, Mahasarakham University, 13 (35), pp.120-137
 
4.Srinon, S., & Sucharitrak S. (2020). An Analysis of Generic Structure Potential (GSP) of Thai Undergraduate Students' Oral English Presentation: A Genre Perspective. IntegratedSocial Science Journal, Mahidol University, 7 (1), pp.40-60 (January-June)  
 
5.Promta, O., & Sucharitrak. S. (2019). Students' Perspectives and Teacher's Experiences on the Integration of Intercultural Contents to Task-Based Activities. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 12 (6), pp.951-968  
 
6.Sucharitrak, S.(2018). Using Video Self-Assessment to Improve Student’s English Oral Presentation Skills. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11 (5), pp.94-104
 
7.Khamkamnerd P., Saitakham K., & Sucharitrak S. (2015). Effect of Using Semantic Mapping through Reading Text on Learning VocabularyAbility and Retention of Prathomsuksa 5 Students. The 36th National Graduate Research Conference Proceeding 2015. pp.925-934. (https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/issue/view/11490) 2015
 
8.Norasingharoengrit S., Saitakham K., & Sucharitrak S. (2015). The Effect of Using Mnemonic Strategies Toward The Achievement and Retention in Learning English Vocabulary of Pratomsuksa 1 Students The 36th National Graduate Research Conference Proceeding 2015. pp.916-924. (http://www.icird.mju.ac.th/gradresearch/download/ngrc36_proceeding.pdf) 2015
 
9.Sucharitrak S. (2015). Material Selection, Design and Construction through CALL: EFL Teacher Reflection. The Asian Conference on Education & International Development 2015 Official Conference Proceedings, ISSN 2189-101X, pp. 301-314
 
10.Sucharitrak S. (2012). Students‟ Learning Behaviors in the Reading Unit of ELRU. Journal of Science, Ho Chi Minh City University of Education, Vietnam. (http://vjol.info.vn/index.php/sphcm/article/viewFile/13202/12067) 2011 Sucharitrak, S.(2011).
 
11.The Development of CALL English Lessons for Nursing Science Students. Silpakorn Educational Research Journal 2 (2), 287-302. (http://www.tci-thaijo.org/index.php/suedureasearchjournal/article/viewFile/7198/6220) 2011
 
12.สุพัตรา สุจริตรักษ์. (2554) “English @ Christian: “เปิดหน้าต่างความคิดภาษาอังกฤษ” นิตยสาร MBA. 149: ตุลาคม 2554
 
      3.2 การนำเสนอผลงานวิชาการ/เอกสารการประชุมทางวิชาการ
 
1. “Material Selection, Design and Construction through CALL: EFL Teacher Reflection” presented to the Inaugural Asian Conference on Education & International Development 2015, Osaka International Convention Center, Osaka, Kansai Region, Japan : March 29- April 1, 2015.
 
2. Task-Based English for Staff of Ratchaburi Power Plant‟ presented to the 33ndAnnual Thailand TESOL International Conference, Pullman Khon Kaen Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand :  January 25-26, 2013
 
3. Higher Education in Thailand: Current and Issues‟ presented to the International Forum of
Education (IFE) 2020 Leadership Institute: Migration, Mobility, Regionalization in Asia Pacific  Education, Shanghai, China:  October 24 ‐ November 4, 2011
 
     3.3 เอกสารประกอบการสอน (ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก)
       Sucharitrak.S. (2018). Fundamental English Writing for 01355202 course. Unpublished student book and exercises. Department of English. Kasetsart University. Nakhon Pathom.                 
                                                                                                   
     3.4 การบริการทางวิชาการ/ผลงานรับใช้สังคม

2567                 ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

                         ฉบับปรับปรุงปีการศึกษา 2568 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

2566                 ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัย วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา

                         คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

2566                 ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัย (Reviewer) วารสาร

                          English Language Teaching Journal, Volumn 14, Number 12

                          ISSN 1916-4742 E-ISSN 1916-4750

                          Published by Canadian Center of Science and Education

2565-2567         ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประจำคณะศิลปศาสตร์

                          สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

 2557- 2560        ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัย วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย

 2557- 2562        ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัย Thai TESOL Online Proceedings /Abstract  

                            Thai TESOL Conference

2556- ปัจจุบัน       ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทคัดย่อวิจัยภาษาอังกฤษ/บทความวิจัยนักศึกษาระดับบัณฑิต

                            ศึกษา สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

 2562                    ประธานสอบนักศึกษาปริญญาเอกสาขา EIL มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                             จำนวน 3 คน

 2561                    กรรมการสอบ QE ปากเปล่านิสิตปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                             จำนวน 3 คน 

 2561                   วิพากษ์ผลการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยพัฒนางานวิชาการในบริบทศูนย์วิชาการ โดย

                            ผู้ทรงคุณวุฒิ-ผู้เชี่ยวชาญสายวิชาการ ณ ศูนย์วิชาการสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

2558- 2564          ผู้เขี่ยวชาญตรวจสอบเอกสารที่ใช้ประกอบการขอผลงาน ครูวิทยฐานะ

                            ครูชำนาญการ พิเศษ  จำนวน 7 คน

 2559                   ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ

                            มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี 

 2559                   ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรภาษาอังกฤษ สำหรับอบรมครูประถมศึกษา

                            มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จ.นครปฐม 

 2559                   กรรมการสอบวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาโท การสอนภาษาอังกฤษในฐานะ

                           ภาษาต่างประเทศ  คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร

 2558                  ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษ

                           มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จ.ฉะเชิงเทรา

 2558                 เป็นที่ปรึกษาโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาประสิทธิภาพของกิจกรรมเสริม

                          ประกอบการสอนคำศัพท์เพื่อการสื่อสารสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

                          ของสถาบันการ จัดการปัญญาภิวัฒน์ 

  2558                เป็นวิทยากรอบรมโครงการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ

                          ระดับประถมศึกษา 1-6 ที่ไม่จบเอก ภาษาอังกฤษ ที่ห้องประชุมศูนย์ฯ

                          จัดโดยคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ 

                          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน อบรมจำนวน 2 วัน         

   2557                เป็นวิทยากรอบรมโครงการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ จักโดยศูนย์พัฒนาการเรียน

                          การสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา PEER Center อำเภอสวนผึ้ง

                          จำนวน 1 วัน (16 ก.ค 2557)

   2557                เป็นวิทยากรอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   

                          บางเขน ณ รร.รอยัลฮิล์ กอลฟ รีสอรทแอนด์สปา นครนายก

                          จำนวน 5 วัน (24-28 มี.ค.2557)

   2557                เป็นวิทยากรวิทยากรอบรมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ

                          โครงการ เตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน

                           รุ่นที่  2 (ระหว่างวันที่ 31 มี.ค-4 เม.ย) ,

                           รุ่นที่  3 (ระหว่างวันที่ 16-20 มิ.ย) ,

                            รุ่นที่ 4 (ระหว่างวันที่ 28ก.ค-1 ส.ค)

                          จัดโดยคณะมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ วังรี รีสอรท์ นครนายก

2552-2553         เป็น Visiting Scholar ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐอินเดียน่า

                          (Indiana State University)   ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับเชิญ

                           เป็นผู้บรรยายในรายวิชา Current Trends and Issues in

                           Teaching English as a Second Language

                           เรื่อง “Bilingual Education and Management in Thai Education)

                          ให้กับนักศึกษาปริญญาโทการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาที่สอง 

                         
       3.5 รางวัลหรือเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ที่ได้รับเกี่ยวกับงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ
 
     1. รางวัลประกาศเกียรติคุณบุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการวิจัยและนวัตกรรม สายศิลปศาสตร์

       เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาคณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ครบรอบ 29 ปี

       เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2565

 

     2.ได้รับทุนจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ) ร่วมกับ East-West Center, Hawaii

ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นตัวแทนจากประเทศไทย เข้าร่วมประชุมประเทศเอเชียแปซิฟิก (Asia Pacific) ระหว่างวันที่ 14-27 สิงหาคม 2555 ที่ East China Normal University เมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                      
วันจันทร์, ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ๐๙:๔๙

ผศ.ดร.วิสุทธิ์ จรูญธวัชชัย

เขียนโดย

 

1. ข้อมูลประวัติส่วนตัว
                                                        นายวิสุทธิ์ จรูญธวัชชัย
                                                        Wisut Jarunthawatchai
       ตำแหน่งทางวิชาการ                ผู้ช่วยศาสตราจารย์
       ตำแหน่งทางบริหาร                 หัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
                                                                        ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป 
       สังกัดสาขาวิชา                     ภาษาอังกฤษภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
       E-mail                                    This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
 
2. ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
 
ระดับการศึกษา  ชื่อวุฒิ              วิชาเอก            สถาบันการศึกษา             ปีที่สำเร็จ
  ปริญญาเอก     Ph.D.    Applied Linguistics   University of Southampton  2553
                                                                       สหราชอาณาจักร 
 
  ปริญญาโท      ศศ.ม.     การสอนภาษาอังกฤษ   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์       2544
                                     เป็นภาษาต่างประเทศ 
 
  ปริญญาตรี      ศศ.บ.     ภาษาอังกฤษ               มหาวิทยาลัยเชียงใหม่           2541
 
 แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
       1. Second language writing
       2. Genre-based approach
       3. Genre analysis
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1. 01355201 Critical Reading and Writing in English
       2. 01355231 English Writing
       3. 01355481 World Englishes and Global Citizenship in Professional                      Contexts
 
3. ผลงานทางวิชาการ
       
        3.1 บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร
Jarunthawatchai, W., & Baker, W. (In Press 2023) English language education and educational policy in Thailand. In A. J. Moody (Ed.) The Oxford handbook of Southeast Asian Englishes. Oxford: Oxford University Press.
 
Srinon, U., White, P. R., Jarunthawatchai, W. (2022). Syllabus development on writing English news stories for Kasetsart University Students, Thailand. English Language Teaching, 15(5), 120-127. DOI: https://doi.org/10.5539/elt.v15n5p120
 
Jarunthawatchai, W. (2021). Students’ perceptions towards a process-genre approach to developing writing competence in English. Phikun Journal, 12(9), 273-297.
 
Thongchalerm, S., & Jarunthawatchai, W. (2020). The Impact of Genre Based Instruction on EFL Learners’ Writing Development. International Journal of Instruction, 13(1), 1-16. https://doi.org/10.29333/iji.2020.1311a
 
Siraranghom, W. & Jarunthawatchai, W. (2018). Investigating the Pragmatic Awareness of EFL Learners: Thai Air Force Cadets. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and Arts), 11(5), 403-425.
 
Jarunthawatchai, W. (2018). The Effects of a Holistic Approach to Developing Foreign Language Writing Competence of Students at Tertiary Level. FEU Academic Review, 12(1), 46-68.
 
Baker, W. & Jarunthawatchai, W. (2017). English language policy in Thailand. European Journal of Language Policy, 9(1), 27-44. DOI: 10.3828/ejlp.2017.3
 
 
K. Laorr, A. & Jarunthawatchai, W. (2014). Abstracts writing: A case study of ScienceDirect top 25 hottest articles. The 34th Thailand TESOL International Conference Proceedings 2014: Thailand TESOL.
 
Jarunthawatchai, W. (2007).  Integrating process and genre approaches to teaching L2 writing. The CULI National Seminar Proceedings. Bangkok: Chulalongkorn University.
 
 
Patrick Gallagher, วิภา ฌานวังศะ และวิสุทธิ์ จรูญธวัชชัย. (2563). “Traveling in Thailand” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว (English for Tourism) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 3 หน้า 3-1 – 3-70. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
 
วิสุทธิ์ จรูญธวัชชัย. (2559). “การสอนการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 หน่วยที่ 13 หน้า 13-1 – 13-87. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
 
 Jarunthawatchai, W. (2015). Integrated English Reading and Writing Skills (01355232). Unpublished student workbook. Department of English. Kasetsart University. Nakhon Pathom.
 
        3.2 การบริการทางวิชาการ/ผลงานรับใช้สังคม
  1. ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยของบุคลากรคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ ตามหนังสือที่ อว. ๘๖๑๑/๐๐๒๗๘๘ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๔

  2. ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ตามคำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ ๐๑๓/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔

  3. กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๔ ตามคำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ ๘๔๑/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๓

  4. ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ตามคำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ ๐๕๒/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑๓ เมษายน ๒๕๖๓

  5. กรรมการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามคำสั่งบัณฑิตวิทยาลัยที่ 0062/2563 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2563

  6. คณะอนุกรรมการประเมินผลการสอนผู้เข้ารับการประเมินการสอน เพื่อประกอบใช้ขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ตามหนังสือที่ อว. ๖๕๐๒/๐๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๒

  7. ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์ข้อเสนอโครงการวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ตามหนังสือ ที่ ศธ ๐๕๙๐.๒๔/ว๕๐๐ ลงวันที่ ๑๖ พฤษศจิกายน ๒๕๖๑

  8. ผู้ทรงคุณวุฒิในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๕ ประจำปี ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยเกษตาศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๑

  9. กรรมการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเกษตาศาสตร์ ตามคำสั่งบัณฑิตวิทยาลัยที่ ๐๒๘๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑

  10. กรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ตามคำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ ๐๕๐/๒๕๖๑ และ ๐๕๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๑

  11. ประธานกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเกษตาศาสตร์ ตามคำสั่งบัณฑิตวิทยาลัยที่ ๐๑๓๘/๒๕๖๑ และ ๐๑๓๙/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๑

  12. กรรมการสอบวัดคุณสมบัติ นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเกษตาศาสตร์ ตามคำสั่งบัณฑิตวิทยาลัยที่ ๐๑๔๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๑

  13. ผู้ร่วมปรับปรุงในคณะกรรมการกลุ่มปรับปรุงชุดวิชา ๑๑๓๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว สาขาวิชาศิลปศาสตร์ ตามทำสั่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ ๔๐๓๗/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐

  14. วิทยากร การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนบทความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ (Writing Research Article for International Journal)” วันที่ ๑๙ – ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ตามหนังสือที่ ศธ. ๐๕๓๖/๒๒๓๐ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐

  15. วิทยากร โครงการ English for Future Chemists โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐, ๒๕๕๘, ๒๕๕๖

  16. ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษตรวจบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ประจำโครงการศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (ภาคพิเศษ) ตามคำสั่งแต่งตั้งคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ที่ ๒๙๗/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๙

  17. คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาภาษาอังกฤษ ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ ๑๙๔๘/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๙

  18. ผู้ทรงคุณวุ ฒิพิจารณาหลักสูตร อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) มหาวิทยาลัยศิลปากร ตามหนังสือที่ ศธ. ๐๕๒๐/๑๑๒๙ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘

  19. ผู้ร่วมปรับปรุง ชุดวิชาภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา (English for Language Teachers) ๑๑๓๑๑ หน่วยที่ ๑๓ การสอนการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๒) สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. ๒๕๕๗

     3.3 รางวัลหรือเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ที่ได้รับเกี่ยวกับงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ
       1. บุคลากรสายวิชาการดีเด่น กลุ่มอายุตั้งแต่ 40 ปี ขึ้นไป ด้านการวิจัยและนวัตกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2564
       2. บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ประจำปี 2564 ประเภทผู้มีความก้าวหน้าทางวิชาการ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
    
วันอังคาร, ๐๒ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๑๓:๑๘

ผศ.ดร.อุดมกฤษฏิ์ ศรีนนท์

เขียนโดย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุดมกฤษฏิ์ ศรีนนท์


ประวัติ/วุฒิการศึกษา (Education)

Thai:    ภาษาศาสตร์  University of Adelaide  ประเทศออสเตรเลีย

 English: PhD (Linguistics), University of Adelaide, Australia   

อีเมล์ติดต่อ : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. 

More information: https://research.ku.ac.th/forest/Person.aspx?id=480209

สาขาและความเชี่ยวชาญ (Areas of Expertise)

  • ภาษาศาสตร์ ( Linguistics เน้น Systemic Functional Linguistics)
  • ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied linguistics)
  • TEFL, TESOL, IEL, student writing and reading, literacy development, text evaluation (appraisal), discourse analysis and genre-based pedagogy

ผลงานตีพิมพ์ (Publications)

2021

  • Preecha, P., Srinon, U., Thongrin, S. (2021) NEEDS ANALYSIS FOR THE DEVELOPMENT OF A SYDNEY GENRE - BASED SYLLABUS DESIGN FOR IMPROVING THAI PRE - CADETS’ CRITICAL WRITING ON EXPOSITION TEXTS. Journal of MCU Social Science Review. Vol. 10, No. 3 (July – September 2021). pp.319-334. 
  • Srinon, R., Srinon, U., et al (2021) SCAFFOLDING OF SMOKE FREE SCHOOL PROJECT BY AYUTTHAYA PROVINCE’S NODE, HEALTH LEARNING CENTER, THAI HEALTH PROMOTION FOUNDATION. Journal of MCU Nakhondhat, Vol 8, No.7, July 2021. Pp.372-389. 
  • Chanpradit, T., Sriluk, C., Srinon, U. (2021) Needs of English for Elderly People in the Community of Doem Bang Nang Buat in Suphan Buri, Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University. Vol 15. No. 3 (September – December 2021) pp.61-74. 

Books

  • Dr.Udom Srinon and Asst.Prof.Dr.Akaphon Chuamaihom (2015) Selected Two Language Short Stories – The vow in front of the flagpole by Thassanawadee (Thai and English Edition),
  • Dr.Udomkrit Srinon (2018)  Learn Easy English through 35 Situations with Nammont and Her Daddy (Dome), Phetkasem Printing Group, Co.
วันอังคาร, ๑๒ กันยายน ๒๕๖๖ ๑๕:๑๗

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรายุ ทัพพุ่ม

เขียนโดย

 

1. ข้อมูลประวัติส่วนตัว
       ชื่อ-สกุล (ไทย) (นาย/นางนางสาว)       นายจิรายุ ทัพพุ่ม
               (อังกฤษ)                                 Jirayu Tuppoom
       ตำแหน่งทางวิชาการ (ตำแหน่งปัจจุบัน)  ผู้ช่วยศาสตราจารย์
       ตำแหน่งทางบริหาร -
       สังกัดสาขาวิชา
       สาขาวิชา    ภาษาอังกฤษ      ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
       E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
 

2. ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)

ระดับการศึกษา

ชื่อวุฒิ

วิชาเอก

สถาบันการศึกษา

ปีที่สำเร็จ

ปริญญาเอก

ศศ.ด

ภาษาอังกฤษศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี

2549

ปริญญาโท

ศศ.ม.

ภาษาศาสตร์ประยุกต์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี

2535

ปริญญาตรี

กศ.บ.

ภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2533

แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
       1. ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied linguistics)
       2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Autonomous learning)
       3. การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ (English Reading and Writing)
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1. 01355501 English Required by Graduate School
       2. 013552253 English for Logistics Management
       3. 01355108 English and Culture through Songs
 
3. บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร
ตัวอย่างการเขียน (APA 7th)
            ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปี)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่(ฉบับที่),/หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.
Choopun, J. and Tuppoom, J. 2014. The perspectives of EFL Thai teachers on self-
assessment in the 34 th Thailand TESOL International Conference 2014 Proceedings.
pp. 50-69.
 
Choopun, J., and Tuppoom, J. 2018. Self-Reflection and Teacher Collaboration: A Path to Effective Change of Teaching Practice for Tertiary English Language Teachers in the 1 st Rajamangala Surin International Conference (1 st RSIC). pp. 246-257.
จิตติมา ชูพันธุ์ และ จิรายุ ทัพพุ่ม. 2562. Tertiary English Language Teachers’ Perceptions toward Self-reflection and Teacher Collaboration on Learning and Professional Development.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11 (2) : 1-43.
 
Srinon, U., & Tuppoom, J. (2019). Analysis of Generic Structure Developments and Resources of Intersubjective Stance in Discussion Essays Written by Thai EFL Students: Systemic Functional Linguistics and Appraisal Perspective. INTEGRATED SOCIAL SCIENCE
JOURNAL, FACULTY OF SOCIAL SCIENCES AND HUMANITIES, MAHIDOL UNIVERSITY,
6(2), pp.184-235.
 
4. การนำเสนอผลงานวิชาการ/เอกสารการประชุมทางวิชาการ
 
       การบริการทางวิชาการ/ผลงานรับใช้สังคม
  1. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิปรับปรุงหลักสูตรสาขาอังกฤษธุรกิจ 2564 มหาวิทยาลัยเซาธ์อิสท์บางกอก (Southeast Bangkok College) ตามคำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ ๐๕๙/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔
  2. ประธานกรรมการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษศึกษา พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัย  นอร์ทกรุงเทพ ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ที่ 590/2563 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563
  3. ประธานกรรมการพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษศึกษา พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ที่ 589/2563 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563

       

วันอังคาร, ๑๒ กันยายน ๒๕๖๖ ๑๕:๑๖

ดร.ทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์

เขียนโดย

 

1. ข้อมูลประวัติส่วนตัว

       ชื่อ-สกุล (ไทย) (นาย/นางนางสาว)           นายทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์
       (อังกฤษ)                                             Mr. Songtham Vongvirulh
       ตำแหน่งทางวิชาการ (ตำแหน่งปัจจุบัน)   -
       ตำแหน่งทางบริหาร     หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ         
       สังกัดสาขาวิชา
       สาขาวิชา      ภาษาอังกฤษ           ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
       E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.      
        
2. ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
       ระดับปริญญาตรี (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต    ปีที่จบ    2542    ประเทศ     ไทย                         
       สาขา                (ไทย)  ภาษาอังกฤษ               
                          (อังกฤษ)  Bachelor of Arts (English)    
       สถาบันที่จบ        (ไทย)  คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย     
                          (อังกฤษ)  Faculty of Humanities, University of the Thai Chamber of Commerce
 
      ระดับปริญญาโท (ไทย)   อักษรศาสตรมหาบัณฑิต   ปีที่จบ   2548     ประเทศ     ไทย           
      สาขา                 (ไทย)   ภาษาศาสตร์           
                          (อังกฤษ)    Master degree of Arts (Linguistics)                                          
      สถาบันที่จบ        (ไทย)    คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย     
                          (อังกฤษ)    Faculty of Arts, Chulalongkorn University   
    หัวข้อวิทยานิพนธ์   (ไทย)    การวางโครงเรื่องในปริจเฉทเรื่องเล่าจากประสบการณ์ตรงและประสบการณ์อ้อมในภาษาไทย
                        (อังกฤษ)     PLOT ORGANIZATION IN THAI NARRATIVE DISCOUSE BASED ON DIRECT AND INDIRECT EXPERIENCES       
 
     ระดับปริญญาเอก(ไทย)   ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต         ปีที่จบ    2564     ประเทศ       ไทย            
      สาขา                (ไทย)   หลักสูตรและการสอน  
                         (อังกฤษ)   Doctor of Philosophy (Curriculum and Instruction)                 
     สถาบันที่จบ        (ไทย)   คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 
                         (อังกฤษ)   Faculty of Education, Silpakorn University                                       
หัวข้อวิทยานิพนธ์      (ไทย)   การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนจดหมายโต้ตอบภาษาอังกฤษธุรกิจ ตามแนวการเขียนแบบอรรถฐานร่วมกับแนวคิดกลุ่มคำสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี                 
                         (อังกฤษ)   THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL FOR BUSINESS ENGLISH WRITING BASED ON GENRE-BASED APPROACH AND LUXICAL BUNDLES FOR UNDERGRADUATE STUDENTS               
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
       1. การบริการจัดการคลังข้อมูล (Corpus mining and management)
       2.  ภาษาอังกฤษธุรกิจ (Business English)
       3. การเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ (Business English Writing)
       4. อรรถฐานและคำศัพท์ (Move Analysis / lexical bundles)
       5. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1. 01355207 การเขียนโต้ตอบภาษาอังกฤษ (English Correspondence)
       2. 01355252 การเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ (Business English Writing)
       3. 01355103 ภาษาอังกฤษเพื่อโอกาสในการทำงาน (English for Job Opportunities)
       4. 01355209 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ (Communicative English for Careers)
      5. 01355433 การเขียนงานวิจัยภาษาอังกฤษเบื้องต้น (Introduction to Research Writing in English)
 

3. ผลงานทางวิชาการ

      การนำเสนอผลงานวิชาการ/เอกสารการประชุมทางวิชาการ
ตัวอย่างการเขียน (APA 7th)
ชื่อผู้แต่ง./(ปี,/วันที่/เดือน)./ชื่อบทความหรือชื่อเรื่องของบท/[การนำเสนอ: เอกสารนำเสนอ/โปสเตอร์นำ
เสนอ]./ชื่อการประชุม, เมืองที่ประชุม.

       1. ทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์, ณัชพล บุญประเสริฐกิจ, "การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (พ.ศ. 2559) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน", การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, 3 - 4 ธันวาคม 2019, นครปฐม ประเทศไทย                                                                            

       2. ทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์, "การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน", การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14, 8 ธันวาคม 2017, นครปฐม นครปฐม ประเทศไทย                                                                            

       

วันอังคาร, ๐๙ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ๑๐:๒๙

ผู้บริหาร

เขียนโดย

 หัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม

Wisut

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์ จรูญธวัชชัย

 

รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม                                                     

                                         1                     Pattarapong

                         ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชดาวรรณ คงสัตย์                อาจารย์ ดร.ภัทรพงศ์ คงวัฒนา

                                                  ฝ่ายวิชาการ                                                ฝ่ายบริหาร

 

ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม

 Thanatthakul                   SUPRANEE                      2

 อาจารย์ ดร.ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช              อาจารย์ สุปรานี พุ้ยมอม                             อาจารย์กษิดิษฐ์ สุพรรณ

                ฝ่ายบริหาร                                              ฝ่ายการศึกษา                                           ฝ่ายวิชาการ

 

8                  6                 9 67

อาจารย์ ดร.ทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์           ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กาญจนา โรจนพานิช           อาจารย์พิมพรรณ จันทรแดง

หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ                        หัวหน้าสาขาวิชาภาษาไทย                        หัวหน้าสาขาวิชาภาษาจีน

 

                                                    

3                4                   2

    อาจารย์ ดร.สุรีรัตน์ วงศ์สมิง             ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ทิสวัส ธำรงสานต์                อาจารย์วรท อุณหสุทธิยานนท์

  หัวหน้าสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น                 หัวหน้าสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส                     หัวหน้าสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา

1

อาจารย์ภัทรพร จินตกานนท์

หัวหน้าสาขาวิชาบรรณารักษ์

 

 

 

 

วันเสาร์, ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๑:๒๐

อาจารย์ปัทมา เหมือนสมัย

เขียนโดย
1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
นางสาว ปัทมา เหมือนสมัย
Miss Phattama Mueansamai
ตำแหน่งทางวิชาการ
อาจารย์ 
ตำแหน่งทางบริหาร
ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
สังกัดสาขาวิชา
สาขาวิชา ภาษาไทย ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail                                         
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.                                                                                                                                                                  
2.ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี
ศิลปศาสตรบัณฑิต ปีที่จบ 2551 ประเทศไทย
สาขา
การท่องเที่ยว       
Tourism
สถาบันที่จบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
Rajamangala University of Technology Thanyaburi
 
ระดับปริญญาโท
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ปีที่จบ 2557 ประเทศไทย
สาขา
ภาษาศาสตร์ประยุกต์
Applied Linguistics
สถาบันที่จบ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์               
Kasetsart University       
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์
คำอ้างถึงบุรุษในภาษาไทยในการอ้างถึงและพูดคุยกับสัตว์เลี้ยง
Thai Personal Reference Terms in Referring and Talkin
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
       1.ภาษาศาสตร์ภาษาไทย   
       2.วัจนปฏิบัติศาสตร์ 
       3.ปริจเฉทวิเคราะห์                         
       4.ภาษาศาสตร์สังคม                                                                                                                          
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1.01361102 การเขียนภาษาไทยเชิงปฏิบัติ
       2.01999021 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร       
       3.01999032 ไทยศึกษา             
       4.02701011 การใช้ภาษาไทยเพื่อธุรกิจ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี   
       5.02724011 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม       
       6.01361221 ภาษาศาสตร์เพื่อการศึกษาภาษาไทย             
                    
3.ผลงานทางวิชาการ
       3.1 โครงการวิจัย
ชื่อโครงการวิจัย  
การศึกษาภาษาและภาพสะท้อนสังคมไทยจากการตั้งชื่อสุนัขในประเทศไทย
แหล่งทุน
ทุนส่วนตัว
ปีที่ได้รับอนุมัติ  
2561
สถานะ
ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
     
      3.2 บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร
ตัวอย่างการเขียน (APA 7th)
            ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปี)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่(ฉบับที่),/หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.
 
                   1.ปัทมา เหมือนสมัย.  (2562).การตั้งชื่อสุนัขในประเทศไทย: ภาพสะท้อนสังคมไทย.วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ,
26(2),316-346.
                  2.ปัทมา เหมือนสมัย.  (2563).  การศึกษาปริจเฉทโฆษณาประกันสุขภาพในสื่อออนไลน์.  วารสารภาษาและวรรณคดีไทย,
37(1), 31-72.
 
4.การบริการทางวิชาการ/ผลงานรับใช้สังคม
     1.ปฏิบัติหน้าที่ เป็นคณะกรรมการด้านการจัดทำเว็บไซต์สำหรับการประชุม 
    ชื่อหัวข้อ/โครงการ                   การประชุมนานาชาติเรื่อง ภูมิทัศน์ภาษา
                                                  (Linguistic Landscape)                                            
    ชื่อหน่วยงานที่จัดโครงการ       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย                                                                   ระยะเวลาการจัดกิจกรรม            15 มิถุนายน 2561                                                                                             
วันพุธ, ๑๓ กันยายน ๒๕๖๖ ๑๑:๑๕

อาจารย์เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์

เขียนโดย
1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
นางสาวเบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์            
Miss Benja-arpa Phisetsakunwong
ตำแหน่งทางวิชาการ        
อาจารย์
สังกัดสาขาวิชา  
สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
2.ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี
อ.บ ปีที่จบ 2553 ประเทศ ไทย     
สาขา
เอเชียศึกษา (เกียรตินิยมอันดับ1)  
Asian Studies    
สถาบันที่จบ
มหาวิทยาลัยศิลปากร      
Silpakorn University      
ระดับปริญญาโท
M.A. ปีที่จบ 2555 ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาขา
สาขาวิชาการสอนภาษาจีนสำหรับนักศึกษาต่างชาติ 
Teaching Chines to Speakers of other Languages.
สถาบันที่จบ
มหาวิทยาลัยหนานจิง
Nanjing University        
หัวข้อวิทยานิพนธ์          
การศึกษาความผิดพลาดในการใช้คำวิเศษณ์บอกระดับของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภาษาจีนของประเทศไทย
Error Analysis of Degree Adverb With reference to the senior student of Chinese Major in Thailand  
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ
       1.วัฒนธรรมจีน         
       2.การสอนภาษาจีน                                                                                                                      
รายวิชาที่รับผิดชอบ
       1.ภาษาจีน I                                                                                           
       2.ภาษาจีน II                                                                                           
       3.ภาษาจีน III                                                                                         
       4.ภาษาจีนธุรกิจ                                                                                               
       5.ภาษาและวัฒนธรรมในองค์กรจีน                                                                            
       6.ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการโรงแรม    
          
3.ผลงานทางวิชาการ                     
      โครงการวิจัย
   1.ชื่อโครงการวิจัย
การศึกษาปัญหาการออกเสียงสัทอักษรจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
แหล่งทุน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี   
ปีที่ได้รับอนุมัติ  
2559
สถานะ
ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว   
   
  2.ชื่อโครงการวิจัย
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช้บริบทของชุมชน
แหล่งทุน
ทุนส่วนตัว
ปีที่ได้รับอนุมัติ
สถานะ
ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว   
 
3.ชื่อโครงการวิจัย
ความหมายที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลบนแผ่นป้ายชื่อร้านค้าภาษาจีนในจังหวัดกาญจนบุรี       

 แหล่งทุน

โครงการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562    
ปีที่ได้รับอนุมัติ
 2562
สถานะ
ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
 
  4.ชื่อโครงการวิจัย
การศึกษาความเชื่อที่สะท้อนจากสิ่งของตกทอดที่มีคุณค่าในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดกาญจนบุรี
แหล่งทุน
ทุนส่วนตัว
ปีที่ได้รับอนุมัติ
สถานะ
ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว          
     
4.บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร
1. เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์. (2559). การศึกษาปัญหาการออกเสียงสัทอักษรจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 5(1), หน้า 82-90.
 
2. เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะภาษาจีนแบบบูรณาการโดยใช้บริบทของชุมชน. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 13(2),  หน้า 131-145.
 
3. เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์. (2564). ความหมายที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลบนแผ่นป้ายชื่อร้านค้าภาษาจีนในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 13(25), หน้า 61-72.
 
4. เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์ และกนกพร นุ่มทอง. (2566). การศึกษาความเชื่อที่สะท้อนจากสิ่งของตกทอดที่มีคุณค่าในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดกาญจนบุรี. มนุษยศาสตร์สาร, 24(1),  หน้า 127-147.
 
   5.รางวัลหรือเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ที่ได้รับเกี่ยวกับงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ
            รางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเด่น กลุ่มอายุต่ำกว่า 40 ปี ด้านการวิจัยและนวัตกรรม สายศิลปศาสตร์ เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ครบรอบ 29 ปี วันที่ 31 สิงหาคม 2565 
วันพุธ, ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๗ ๐๙:๓๔

ดร.ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช

เขียนโดย

ประวัติและผลงาน

อาจารย์ ดร.ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช

Thanatthakul Phornthipphayaphanit, Ph.D.

 

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์

ตำแหน่งทางบริหาร   : ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรมฝ่ายบริหาร

สถานที่ทำงาน :

  • สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เลขที่ 1 หมู่ 6 ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140
  • โทร. 0-3428-1105 ถึง 7 โทรสาร 0-3435-1402 โทรศัพท์ (ภายใน) 3600-4
  • E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

คุณวุฒิ:           

  • ปริญญาตรีศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1

     คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 

     ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2554

  • ปริญญาโท : ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์)

     คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 

     ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2557

     หัวข้อวิทยานิพนธ์  

     ไทย: คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

     อังกฤษ: COLOR TERM IN THAI DURING THONBURI AND RATTANAKOSIN PERIOD

      https://www-lib-ku-ac-th.kasetsart.idm.oclc.org/KUthesis/2557/thanatthakul-pho-all.pdf

  • ปริญญาเอก : ปร.ด. (ภาษาศาสตร์)

     คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

     ปี พ.ศ. ที่สำเร็จการศึกษา 2563

     หัวข้อวิทยานิพนธ์  

     ไทย: คำเรียกสีที่ใช้เปรียบเทียบเชิงประวัติในภาษาไทยตามแนวทางภาษาศาสตร์ปริชาน

     อังกฤษ: A DIACHRONIC STUDY ON METAPHORICAL USES OF COLOR TERMS IN THAI:
A COGNITIVE LINGUISTICS APPROACH

     http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1153

บทความวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์:

  • ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช และจรัลวิไล จรูญโรจน์, ม.ล.. (2557). คำเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาศึกษาศาสตร์, สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (น. 452-459). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ; กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

       https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/index.php?/BKN/search_detail/result/13864

  • ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช และนันทนา วงษ์ไทย. (2564). กระบวนการทางปริชานในการถ่ายโยงความหมายของคำเรียกสีในภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 40(1).(ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)

       https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/254138/170062

บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์:

  • ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2567). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของศาสนาพุทธและคริสต์ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(1). (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhnu/article/view/261911/183085
  • ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2567). ภาษาและค่านิยมที่สะท้อนจากชื่อพรรคการเมืองไทยตั้งแต่พ.ศ. 2498-2566. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(2). (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) 

บทความวิชาการ:

  • ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2558). ไข่แดง หอมแดง: ตาบอดสีหรือไม่มีคำเรียก. ใน หนังสือรวมบทความอาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

      https://drive.google.com/file/d/16Nkgj9rk4ba2SyCjFH9E5XNQmK4RhPPu/view

ทุนวิจัย :

  • เรื่อง “ภาษา ค่านิยม และภาพสะท้อนอุดมการณ์ทางการเมืองจากชื่อพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ปีพ.ศ.  2498-2566" 
  • แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนทุนวิจัยประจำปีงบประมาณ 2566 จากศูนย์วิจัย ส่งเสริม และถ่ายทอด เทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 

แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ :       

  • ภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ภาษาไทย อรรถศาสตร์ และอรรถศาสตร์ปริชาน 

รางวัลที่ได้รับ:

  • รางวัลบุคลากรดีเด่นสายวิชาการ ด้านการเรียนการสอน กลุ่มอายุต่ำกว่า 40 ปี ประจำปี 2566 เนื่องในงานสถาปนาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ครบรอบ 30 ปี

งานบริการวิชาการ:

  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 30 กรกฎาคม 2564
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 25 กรกฎาคม 2562
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 18 สิงหาคม 2561
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ผลงานการค้นคว้าและระเบียบวิธีวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์” แก่นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันที่ 20-22, 25 กรกฎาคม 2560

บุคลากร