Super User

Super User

วันเสาร์, ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๑:๒๒

ดร.สุรีรัตน์ วงศ์สมิง

1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
                                     นางสาวสุรีรัตน์ วงศ์สมิง
                                     Sureerut Wongsaming
ตำแหน่งทางวิชาการ        อาจารย์
ตำแหน่งบริหาร               รองหัวหน้าภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
ตำแหน่งบริหาร               หัวหน้าสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
สังกัดสาขาวิชา                ภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail                          This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.  034-281-105 ext. 7214 
 
2.ประวัติ/วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)                                             
ระดับปริญญาตรี
อักษรศาสตร์บัณฑิต 2545
Bachelor of Arts (Japanese) 2002
สาขา
ภาษาญี่ปุ่น
Japanese
สถาบันที่จบ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Chulalongkorn University
ระดับปริญญาโท             
Master of Arts in Area Studies, University of Tsukuba, Japan 2006
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ/สนใจ
Japanese language and society, Intercultural communication, Pragmatics
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ (และเคยรับผิดชอบสอน)
Japanese reading and writing
Japanese Conversation
Advanced Japanese
Intermediate Japanese
Foundation Japanese
Elementary Japanese
 
3.ผลงานทางวิชาการ
Watanabe, Kaoru &Wongsaming, Sureerut& Li-Hai Nan &Florescu, Cosmin (2006).Changing Topics in Japanese Native Speakers’ Conversation with Different Personal Relation.Danwa to Bunpou no Setten.University of Tsukuba.137-164
 
Wongsaming, Sureerut (2006). Reports on Practice Teaching at UniversitadegliStudi di Catania. NihongoKyouikuJissenHoukoku, University of Tsukuba.10, 27-47.
 
Wongsaming, Sureerut (2006).Difference of Attitudes towards Kanji Teaching in Japanese Practice Teaching Class.Nihongo Kyouiku Jisshuu Houkoku Ronbunshuu, Area Studies: University of Tsukuba.21-32.
 
Yazaki, Aya&Wongsaming, Sureerut&Li-Hai Nan &Takahashi, Minori(2006). Development of SPOT for advanced level learners of Japanese.The Society of Japanese Language Education Methods, Tokyo.
วันศุกร์, ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ๐๙:๕๕

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิสวัส ธำรงสานต์

1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว

ชื่อ-สกุล (ไทย)                            ดร. ทิสวัส ธำรงสานต์

(อังกฤษ)                                     Dr. Tissawas Thumrongsanta

ตำแหน่งทางวิชาการ                    ผู้ช่วยศาสตราจารย์

                                       (ได้รับแต่งตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2558)

ตำแหน่งทางบริหาร                     หัวหน้าสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

บรรจุเป็นพนักงามหาวิทยาลัย        11 กรกฎาคม 2544

 บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการวิจัย สายสังคมศาสตร์ (ผลงานตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2562

บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการเรียนการสอน สายสังคมศาสตร์  คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2565

หน่วยงานที่สังกัด

สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส  ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
โทรศัพท์ (ภายใน) 7230  E-mail. This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

2.ประวัติ/วุฒิการศึกษา 

 ระดับปริญญาตรี (ไทย) :

 ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาฝรั่งเศส) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(อังกฤษ) :

B.A. (French) Thammasat University

ระดับปริญญาโท (ไทย) :

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาฝรั่งเศส) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(อังกฤษ) :

M.A. (French)  Chulalongkorn University

วิทยานิพนธ์ :

“Étude  comparative  de  la  stylistique  des  éditoriaux dans  L’Express  et  Le  Point  en  1992” (197 p. + Annexe 79 p.)

 

การศึกษาเปรียบเทียบวัจนลีลาของบทบรรณาธิการในนิตยสาร เล็กซ์แพรส และ เลอ ปวง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕”(๑๙๗ หน้า + ตัวอย่างข้อมูล ๗๙ หน้า)

  ระดับเตรียมปริญญาเอก  : D.E.A. ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง สาขาวิชาภาษาศาสตร์ 
  Diplôme d’Etudes Approfondies en Sciences du langage มหาวิทยาลัย Paris X – Nanterre ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส (ทุนรัฐบาลสาธารณรัฐฝรั่งเศส)
   
วิทยานิพนธ์ : “Analyse du discours journalistique  dans la presse française : cas de raz marée en 2004” (97 p.)
  “วิเคราะห์วาทกรรมในสื่อสิ่งพิมพ์ฝรั่งเศส : กรณีเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัย (คลื่นสึนามิ) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗” (๙๗ หน้า)“วิเคราะห์วาทกรรมในสื่อสิ่งพิมพ์ฝรั่งเศส : กรณีเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัย (คลื่นสึนามิ) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗” (๙๗ หน้า)
   
ระดับปริญญาเอก :  ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (เกียรตินิยมยอดเยี่ยมพร้อมการแสดงความยินดีของคณะกรรมการสอบ โดยมีมติเป็นเอกฉันท์) สาขาวิชาภาษาศาสตร์(ทุนรัฐบาลสาธารณรัฐฝรั่งเศสและรัฐบาลราชอาณาจักรไทย)
  Doctorat de 3e cycle en Sciences du langage (Mention Très Honorable avec Félicitations du jury).
  มหาวิทยาลัย Paris Ouest-Nanterre La Défense ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส
   
วิทยานิพนธ์ :  “Regards sur le Siam et le roi Chulalongkorn (Rama V). Analyse du discours dans la presse écrite française pendant la période de 1868 – 1910” (349 p. + Annexe 177 p.)
   "มุมมองต่อประเทศสยามและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) วิเคราะห์วาทกรรมในสื่อสิ่งพิมพ์ฝรั่งเศสตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓" (๓๔๙ หน้า + ตัวอย่างข้อมูล ๑๗๗ หน้า)

แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ/สนใจ

ภาษาศาสตร์ฝรั่งเศส, วาทกรรมวิเคราะห์, สัญวิทยาในงานวรรณกรรมและสื่อสิ่งพิมพ์, ความสัมพันธ์สยาม-ฝรั่งเศส, อารยธรรมฝรั่งเศส

รายวิชาที่รับผิดชอบ (และเคยรับผิดชอบสอน)

  • • The Heritage of World Civilization (หัวข้อ “มรดกจากอารยธรรมตะวันตกตั้งแต่ยุคกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 และความสัมพันธ์สยาม-ฝรั่งเศส)
  • • Thai Language for Communication (หัวข้อ “วินิจ วิจักษณ์ บันเทิงคดี”)
  • • Introduction to French Art and Culture
  • • French Arts and Culture
  • • Basic French Reading
  • • Basic French Structure
  • • Elementary French I/II/III/IV
  • รายวิชาที่รับผิดชอบสอนในปัจจุบันรายวิชาที่รับผิดชอบสอนในปัจจุบัน

     รายวิชาที่เคยรับผิดชอบสอน 

  • • Foundation French I/II
  • • French Structure in Text
  • • French Reading for Careers
  • • French Translation
  • • French Studies
  • • History of French Literature (ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน)
  • • Selected French Literary Works I/II (ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน)
  •  Thai Language for Communication (หัวข้อ "วินิจ วิจักษณ์ บันเทิงคดี”)
  • • Thai Critical Reading (หัวข้อวิจักษณ์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วรรณกรรมไทยร่วมสมัย)

3.ผลงานทางวิชาการ

เอกสารประกอบการสอนและเอกสารคำสอน (ที่ได้รับอนุมัติจากภาควิชาฯหรือคณะฯ ให้จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม)

  • เอกสารประกอบการสอน 01356211 การอ่านภาษาฝรั่งเศสพื้นฐาน (ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก)
  • เอกสารคำสอน  วิชา 01356211 โครงสร้างภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น (Basic French Structure) (ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก)

บทความวิจัยและบทความทางวิชาการ (ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามที่ ก.พ.อ.กำหนด)

  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2542). "เงินยูโร", เที่ยวรอบโลก. (203)กรกฎาคม
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2546). "แนวทางการประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์ในการสอนวิเคราะห์บทอ่าน", เอกสารการประชุมวิชาการทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษา และภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2549). “กว่า 300 ปี ความสัมพันธ์ฝรั่งเศส-ไทย”. วารสารบุษบา ชมรมสตรีไทยในฝรั่งเศส, กรุงปารีส ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส, 18 (เมษายน-มิถุนายน).
  • Tissawas Thumrongsanta. (2012). "L’entrecroisement des approches linguistique et littéraire pour l’analyse du discours journalistique". เอกสารการประชุมวิชาการ “ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศสครั้งที่ 10” จัดโดยสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ Bureau de Coopération pour le français ระหว่างวันที่ 18 – 19 ตุลาคม 2555, 81-112.
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2556). “สามัญทัศน์และอัตลักษณ์ของ “ความเป็นไทย” ในวาทกรรมของหนังสือคู่มือนำเที่ยวภาษาฝรั่งเศส : มโนทัศน์แห่งความจริงหรือมายาคติ” (Stereotypes and Identity of “Thainess” in French guidebooks discourse : reality or myth). เอกสารการประชุมวิชาการแห่งชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ระหว่างวันที่ 6 – 7 ธันวาคม
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2557). “มนต์รักอ่าวทองคำ” และ “ลูกสาวแห่งขุนทะเล” นวนิยายรัก โลภ โกรธ หลง ของปริทรรศ หุตางกูร (The Magical of The Golden Bay and The Daughter of Kun Taleh - Love, Greed, Anger and Lust Stories by Paretas Hutanggura). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 6(2), 225-234.(ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2) อ่านบทความได้ที่ https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/128 
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2557). “’รื้อสร้างสัญญะ “เวลา” ในวรรณกรรมซีไรต์เรื่อง “เวลา” ของ ชาติ กอบจิตติ” (Deconstruction of signifier ‘time’ in S.E.A. Write Award novel “Time” by Chart Korbjitti). วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 36(1), 176-203.(ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2) อ่านบทความได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/238707
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2558). “สามัญทัศน์และอัตลักษณ์ “ความเป็นภาคใต้” ของประเทศไทยในหนังสือคู่มือนำเที่ยวภาษาฝรั่งเศส” (Stereotype and Identity of the “Southness” of Thailand in French guidebooks). เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2558 วันศุกร์ที่ 24 เมษายน 2558, 713-721.
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2558). “ร่องรอยเล็ก ๆ ในจักรวาล รวมเรื่องสั้นที่ตีแผ่แง่มุมด้านมืดของชีวิต” โดยอุเทน พรมแดง (Tiny Vestiges in the Universe - Stories revealing the dark sides of life by Uthain Phromdaeng). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 7(2), 193-208.(ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2) อ่านบทความได้ที่ 

    https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/310

  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2558). “อัตลักษณ์ของ “กรุงเทพมหานคร” ผ่านมุมมองความเป็นอื่น” (Identity of “Bangkok” through Otherness’s Point of View). เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 5 หัวข้อ อัตลักษณ์แห่งเอเชีย ปี 2558 (The 5 th National SMARTS Conference : Asian Identities 2015) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558, 311-325.
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2558). “วาทกรรม “ความเป็นไทย” ในหนังสือคู่มือนำเที่ยวภาษาฝรั่งเศส” (Discourse of “Thainess” in French Guidebooks). เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม 2558 (อำนาจไร้พรมแดน : ภาษา วัฒนธรรม การสื่อสารและอำนาจในชีวิตประจำวัน) มหาวิทยาลัยมหิดล วันจันทร์ที่ 27 กรกฎาคม 2558, 421-437.
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2559). “พหุโฆษะ สัมพันธบท และสัมพันธสารในการนำเสนอข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหนังสือพิมพ์รายวันฝรั่งเศส (Polyphony, Intertextuality, and Interdiscursivity in the News on King Bhumibol Adulyadej’s Death in Daily French Newspapers). วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 38(2), 13-40.

    (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) อ่านบทความได้ที่ https://so04.tcithaijo.org/index.php/jasu/article/view/178929

  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2560). "ตีความ เลียนแบบ และแปลงสารเจ้าชายน้อย: จากนวนิยายเชิงปรัชญาสู่แผ่นฟิล์ม" (Interpretation, Imitation and Transposition of The Little Prince: From a Philosophical Novel to Film), วารสารมนุษยศาสตร์. 24(1), 142-170.(ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) อ่านบทความได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/89921
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2560). "เจ้าชายน้อย”: นวนิยายเชิงปรัชญาหรือนิทานสำหรับเด็ก ("The Little Prince”: a philosophical novel or  a tale for children)". วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี. 9(2), 39-66.

    (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) อ่านบทความได้ที่ https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/673

  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2561).กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่นิยมในพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  บรมนาถบพิตร (Postmodernism’s Paradigm in His Majesty King Bhumibol Adulyadej's Creative Genius). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี. 10(3), 29-62.(ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) อ่านบทความได้ที่ https://e-journal.sru.ac.th/index.php/jhsc/article/view/952
  • ทิสวัส ธำรงสานต์. (2562). "กลวิธีการประกอบสร้าง “อำนาจ” “ความรู้” และ “ความจริง” ในวาทกรรมโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ให้ความขาว" (Construction’s Strategies of “Power”, “Knowledge” and “Truth” in Advertising Discourse of Whitening Products), วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ. 26(1), 88-112.

    (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1) อ่านบทความได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/141322

ตำราหรือหนังสือ (ที่ได้รับการตีพิมพ์)

ทิสวัส ธำรงสานต์. (2542). อ่านบทอ่านอย่างไรก่อนไป Ent'. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิต.

ทิสวัส ธำรงสานต์. (2567.) ศัพทานุกรมคำหลากความฝรั่งเศส-ไทย : คำนาม . กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิสวัส ธำรงสานต์. (2567). ประวัติอารยธรรมฝรั่งเศสสมัยโกลถึงสมัยกลาง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการวิจัยที่ดำเนินการเสร็จสิ้น

  • “สามัญทัศน์และอัตลักษณ์ของ “ความเป็นไทย” ในวาทกรรมของหนังสือคู่มือนำเที่ยวภาษาฝรั่งเศส : มโนทัศน์แห่งความจริงหรือมายาคติ” (Stereotypes and Identity of « Thainess » in French guidebooks discourse : reality or myth).118 หน้า
  • ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวิฒิภายนอก

โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ (2558 – 2559) (ที่ได้รับอนุมัติจากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง)

ชื่อโครงการ (ไทย) :

ปรัชญาพุทธศาสนาในวรรณกรรมแนวแปลกวิสัยของอัลแบรต์ กามูส์

(อังกฤษ) :

Buddhism in Absurdism’s Literary Works of Albert Camus

(ภาษาฝรั่งเศส) :

Bouddhisme dans les œuvres littéraires de l’Absurde d’Albert Camus 

ได้รับทุนสนับสนุนประเภทการวิจัยทั่วไปจากภาควิชาศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ประจำปีงบประมาณ 2558

โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ (2560 - 2561) (ที่ได้รับอนุมัติจากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง)

ชื่อโครงการ  (ภาษาไทย) ภาพลักษณ์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหามหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร  ผ่านมุมมองนักเขียนชาวสวิส        

                 (ภาษาอังกฤษ) Images of His Majesty the Late King Bhumibol Adulyadej through Swiss authors’ points of view     

                 (ภาษาฝรั่งเศส) Images de la Majesté le défunt roi Bhumibol Adulyadej à travers les points de vue des auteurs suisses

การเข้าร่วมอบรมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ

  • เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การแปลข่าว สารคดี และภาพยนตร์” ระหว่างวันที่ 27 – 28 มีนาคม 2547 ณ โรงแรมตรัง กรุงเทพมหานคร จัดโดยสมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย
  • นำเสนอบทความวิชาการเรื่อง ““อำนาจ” และ “ความรู้” ในวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอาง” นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง “ภาษาแห่งอำนาจ: การวิเคราะห์วัจนลีลาของภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง ภาษาสื่อ และภาษาวิชาการของสังคมไทย” จัดโดยภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ โครงการวิจัยทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหว่างวันที่ 30 – 31 มกราคม 2556.
  • เข้าร่วมอบรมหลักสูตร "การอ่านวรรณคดีเชิงวิเคราะห์" วันที่ 28 เมษายน 2560 จัดโดยสถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เข้าร่วมอบรมความรู้ Young Critic Training (รุ่น 2) จัดโดย โครงการวิจัยเครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ : การวิจัยและพัฒนา (สกว.)
  •  เข้าร่วมโครงการสัมมนาเรื่อง "แนวทางการเขียน จัดพิมพ์ เผยแพร่ตำราและหนังสือวิชาการ"ระหว่างวันที่ 11-12 กรกฎาคม 2562 จัดโดย สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การบริการทางวิชาการ

  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมหัวข้อ “การพัฒนาบทเรียนช่วยสอนวิชาภาษาฝรั่งเศส เรื่องวัฒนธรรมฝรั่งเศส” ของนายพงศวีร์ สุภานนท์, วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2548.
  • อาจารย์พิเศษรับเชิญบรรยายรายวิชาทางภาษาศาสตร์ ได้แก่ หลักภาษาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับภาษาฝรั่งเศส (Linguistic Principles as Related to the French Language),  ศัพทศาสตร์และพจนานุกรมวิทยาเบื้องต้น (Introduction to Lexicology and Lexicography) และ สัญลักษณศาสตร์เบื้องต้น  (Introduction to Semiotics)  ให้กับภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 ถึงปัจจุบัน.
  • ผู้ตรวจข้อสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสระดับประเทศ DELF A1 และ A2 ของกระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติฝรั่งเศส ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2555 – 2558
  • วิทยากรรับเชิญบรรยายหัวข้อ “สัญวิทยา : เร้น ลับ ลวง และมายาคติ” ให้กับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน 2558
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวารสารวิชาการ Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • วิทยากรในงานเสวนาวิชาการศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 1 หัวข้อ "“สืบสานพระอัจฉริยภาพด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” นำเสนอเรื่อง "แนวคิดหลังนวสมัยนิยมในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยและบทความวิชาการ วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (TCI กลุ่มที่ 1)
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยและบทความวิชาการ วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ  (TCI กลุ่มที่ 1)
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยและบทความวิชาการ วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์  (TCI กลุ่มที่ 2)
  • วิทยากรรับเชิญบรรยายเรื่อง "แง่คิดจากวรรณกรรมเจ้าชายน้อย" ในโครงการบริการวิชาการแก่สังคมและพัฒนานักศึกษา เรื่อง "120 ปีชาตกาล Antoine de Saint-Exupéry ผู้ให้กำเนิดเจ้าชายน้อย"  จัดโดยสาขาวิชาภาษาฝรั้่งเศส คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อวันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2562
  • วิทยากรบรรยายเรื่อง "Savoir-vivre avec les Français  วัฒนธรรมฝรั่งเศส รู้ไว้ใช่ว่า เผื่อวันหน้าได้ใช้จริง" ในวันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ณ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
  • คณะกรรมการพัฒนาผลงานวิชาการสาขาวิชาการภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คำสั่งที่ 326/2563) ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความในการนำเสนอผลงานวิชาการในการประชุมวิชาการระดับชาติ หัวข้อ “ภาษาและวัฒนธรรมไทยในวิถีโลกใหม่” ประจำปี 2564
  • กรรมการตัดสินการแข่งขันพูดสุนทรพจน์ภาษาฝรั่งเศส ในโครงการแข่งขันความเป็นเลิศทางภาษาฝรั่งเศสระดับอุดมศึกษา ระหว่างวันที่ 2 – 4 สิงหาคม พ.ศ. 2564
  • วิทยากรรับเชิญบรรยายหัวข้อ “แนวทางการประยุกต์ทฤษฎีภาษาศาสตร์ฝรั่งเศสกับการวิจัย” ให้กับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันเสาร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2567
  • วิทยากรรับเชิญบรรยายหัวข้อ “Le Petit Prince วรรณกรรมไร้พรมแดน” ให้กับสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์  ในวันศุกร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2567
  • ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ฝ 30201 ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการ วมว.มก.) ปีการศึกษา 2567
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติของเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ - วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (HUSOC) ครั้งที่ 16 ในวันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

รางวัลหรือเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ที่ได้รับเกี่ยวกับงานวิจัย

  1. รางวัลบทความวิจัยระดับดี เรื่อง “สามัญทัศน์และอัตลักษณ์ของ “ความเป็นไทย” ในวาทกรรมของหนังสือคู่มือนำเที่ยวภาษาฝรั่งเศส : มโนทัศน์แห่งความจริงหรือมายาคติ” (Stereotypes and Identity of  “Thainess” in French guidebooks discourse : reality or myth) นำเสนอและตีพิมพ์ใน Proceeding ของการประชุมวิชาการแห่งชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ระหว่างวันที่ 6 – 7 ธันวาคม 2556.

รางวัลหรือเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ที่ได้รับเกี่ยวกับด้านการเรียนการสอน

บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการวิจัย สายสังคมศาสตร์ (ผลงานตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2562

บุคลากรสายวิชาการดีเด่น กลุ่มอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป ด้านการเรียนการสอน สายศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2565

วันเสาร์, ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๑:๒๑

อาจารย์พิมพรรณ จันทรแดง

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2553 :
ปริญญาตรี สาขาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2555 :
ปริญญาโท ด้านการสอนภาษาจีนสำหรับชาวต่างชาติ
  (Communication University of China)

ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2557 :
อาจารย์สอนภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

 

ผลงานด้านวิชาการ

  • เป็นหนึ่งในผู้จัดทำ "คู่มืออบรมภาษาจีนระดับต้นสำหรับมัคคุเทศก์อาชีพ" ของกรมการท่องเที่ยว
  • เป็นหนึ่งในผู้จัดทำ "คู่มือภาษาจีนระดับสูงแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวภาคใต้" ของกรมการท่องเที่ยว

 

วันศุกร์, ๒๖ เมษายน ๒๕๖๗ ๑๓:๔๔

ดร.ภัทรพงศ์ คงวัฒนา

ข้อมูลประวัติส่วนตัว

นายภัทรพงศ์ คงวัฒนา

Pattarapong Kongwattana

ตำแหน่งทางวิชาการ 

อาจารย์ 

ตำแหน่งทางบริหาร

หัวหน้าสาขาวิชาภาษาจีน

สังกัดสาขาวิชา

สาขาภาษาจีน ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม

E-mail                         

This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.                                                                                            

ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)

ระดับปริญญาตรี

ศิลปศาสตร์บัณฑิต ปีที่จบ 2553 ประเทศ ไทย

สาขา

ภาษาอังกฤษ

สถาบันที่จบ           

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                           

Kasetsart University      

ระดับปริญญาโท

Master of Literature ปีที่จบ 2557 ประเทศ จีน

สาขา

ภาษาและนิรุกติศาสตร์จีน

Chinese Language and Philology

สถาบันที่จบ

มหาวิทยาลัยครุศาสตร์ปักกิ่ง

Beijing Normal University

หัวข้อวิทยานิพนธ์

การศึกษาความหมายแฝงเชิงวัฒนธรรมจากสำนวนจีนที่มาจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา

A Semantic and Cultural Connotations Study in Mental Related Idioms from Translated Buddhist Scriptures

ระดับปริญญาเอก

Doctor of Philosophy ปีที่จบ 2566 ประเทศ ไต้หวัน

สาขา

ไต้หวันและการข้ามวัฒนธรรมศึกษา

Taiwan and Transcultural Studies

สถาบันที่จบ

มหาวิทยาลัยแห่งชาติจงชิง

National Chung Hsing University

 

หัวข้อวิทยานิพนธ์      

วรรณกรรมวิทยาศาสตร์หลังมนุษย์ในศตวรรษที่ 21: ไต้หวันและจีน 

Posthuman Science Fiction in the Twenty-First Century: Taiwan and China   

แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ / สนใจ

1. ภาษาและวัฒนธรรมจีน

2. วรรณกรรมวิทยาศาสตร์จีน

                                                                                                            

รายวิชาที่รับผิดชอบ

รายวิชาศึกษาทั่วไป

  1. 01362101 Chinese I
  2. 01362102 Chinese II
  3. 01362201 Chinese III
  4. 01362202 Chinese IV
  5. 01362301 Chinese V
  6. 01999031 The Heritage of World Civilization (หัวข้อ “อารยธรรมจีน”)

รายวิชาในหลักสูตร ศศ.บ. ภาษาจีนธุรกิจ

  1. 01396311 Business Chinese V
  2. 01396341 Business Chinese Conversation V
  3. 01396342 Business Chinese Conversation VI
  4. 01396411 Chinese for Proficiency Test
  5. 01396421 Overview Thai Society in Chinese Documents
  6. 01396490 Cooperative Education
  7. 01396498 Special Problems            

                                                                                    

ผลงานทางวิชาการ

บทความวิจัยและบทความวิชาการในวารสาร

1. Pattarapong Kongwattana. 2022. The Sinicized Posthuman Future: Reimagining Cyberpunk and the Cyborg in Chen Qiufan’s Waste Tide.Tamkang Review, vol. 53 (1), 93-117.
(ฐานข้อมูล Scopus) 
https://tamkangreview.org/data/10000/upload/files/16771290689756.pdf

2. Pattarapong Kongwattana. 2018. Moana (2016): Negotiating Patriarchy from the Ecofeminist Perspective.Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(4), 1076-1090. 
(ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) 
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/149688

3. ภัทรพงศ์ คงวัฒนา. 2016. การศึกษาสัญญะความเป็นชายผ่านโฆษณาเครื่องสำอางผู้ชายในจีน.วารสารจีนศึกษา. 9 (1), 143-170.
(ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2) 
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/67773

การนำเสนอผลงานวิชาการ/เอกสารการประชุมทางวิชาการ

Pattarapong Kongwattana. 2022, 29 April. SF and Sympoiesis Thinking in The Man with the Compound Eyes by Wu Ming-Yi [Conference] The 7th International Research Conference on Social Sciences, Humanities, Education, and Management 2022 (RSUSOC-2022), ปทุมธานี ประเทศไทย 
https://rsucon.rsu.ac.th/files/proceedings/RSUSOC2022/IN22-002.pdf

เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 01396421 Overview Thai Society in Chinese Documents (ปริทัศน์สังคมไทยในเอกสารภาษาจีน)

โครงการวิจัยที่ดำเนินการเสร็จสิ้น

ชื่อโครงการ         

(ไทย) :                รวมชาติอย่างสันติ: วาทกรรมทางการทูตจีนต่อไต้หวัน

(อังกฤษ) :            Peaceful Reunification: China's Diplomatic Discourse Towards Taiwan

โดยทุนสนับสนุนทุนวิจัยประจำปีงบประมาณ 2566 ศูนย์วิจัย ส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การบริการทางวิชาการ

  1. อาจารย์พิเศษ รายวิชา การเขียนภาษาจีนเพื่อวิชาชีพ ในหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน (ปริญญาใบที่สอง) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2558 จำนวน 45 ชั่วโมง
  2. วิทยากรในงานเสวนาวิชาการศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 1 หัวข้อ “สืบสานพระอัจฉริยภาพด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” นำเสนอเรื่อง "ปรัชญาขงจื่อกับแนวคิดด้านการศึกษาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช" วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2560 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  3. วิทยากรโครงการค่ายอบรมภาษาจีน รุ่นที่ 2 จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ครูผู้สอนภาษาจีนชาวไทย จำนวนประมาณ 200 คน ระหว่างวันที่ 8 มีนาคม ถึง 8 เมษายน 2561 จำนวน 32 ชั่วโมง

 

การเข้าร่วมอบรม

  1. เข้าร่วมอบรมหลักสูตร "การอ่านวรรณคดีเชิงวิเคราะห์" วันที่ 28 เมษายน 2560 จัดโดยสถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  2. เข้าร่วมอบรมโครงการ Young Critic Training (รุ่น 2) จัดโดย โครงการวิจัยเครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ : การวิจัยและพัฒนา (สกว.)
  3. เข้าร่วมอบรมหลักสูตรภาคฤดูร้อน Summer School in Women, Gender & Sexuality Studies จัดโดย ศูนย์วิจัย และบริการวิชาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ ระหว่างวันที่ 23 มิถุนายน 2560 ถึง 23 กรกฎาคม 2560 ณ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

 

ผลงานและรางวัลอื่น ๆ ที่ได้รับ

1. บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการวิจัย สายสังคมศาสตร์ (ผลงานตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2561

2. ทุน The Chung Hwa Rotary Educational Foundation Taiwan Rotary Academic Scholarship (2022-2023) จำนวน 180,000 ดอลลาร์ไต้หวัน (ประมาณ 210,000 บาท) จาก Taiwan Rotary

วันอังคาร, ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๓:๕๕

ดร.อรประพิณ กิตติเวช

1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
                                      นางสาวอรประพิณ กิตติเวช
                                      Miss Onprapin Kittiveja
ตำแหน่งทางวิชาการ            อาจารย์
สังกัดสาขาวิชา                   ภาษาไทย ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail                              This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.    
                                       โทรสาร  0-3428-1057 
                                       โทรศัพท์  0-3428-1105-7  ต่อ 7213           
 
2.ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี                   ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2 ปีที่จบ 2539ประเทศไทย
                                       Bachelor of Arts (Thai)Second class honors
สาขา                                ภาษาไทย 
สถาบันที่จบ                        คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                       Faculty of Humanities Kasetsart University
 
ระดับปริญญาโท                  ศศ.ม. ภาษาศาสตร์ (ภาษาไทย)) ปีที่จบ 2543 ประเทศไทย
                                       Master of Arts Linguistics (Thai Linguistics)
สาขา                                ภาษาไทย
สถาบันที่จบ                        คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวข้อวิทยานิพนธ์                "การวิเคราะห์รูปแบบทางสัทวิทยาของคำยืมสองพยางค์จากภาษา
                                       ต่างประเทศที่ปรากฏในวรรณคดีไทย ในช่วง พุทธศักราช
                                       2325-2468"
                                       An Analysis of Phonological Configurations of Disyllabic
                                       Loanwords in Thai Literature from 1733-1925
 
ระดับปริญญาเอก                 อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาษาไทย ปีที่จบ 2559 ประเทศไทย
สาขา                                ภาษาไทย
สถาบันที่จบ                        คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หัวข้อวิทยานิพนธ์                "ทัศนคติต่อภาษาไทยถิ่นกำแพงแสนและการแปรของวรรณยุกต์ตาม
                                       ปัจจัยทางสังคม:การศึกษาแนวสัทศาสตร์เชิงสังคม"
       หัวข้อบทความวิจัย "ปัจจัยทางสังคมและทัศนคติของชาวกำแพงแสนต่อภาษาไทยถิ่นของตน"
 
แขนงวิชาการที่เชี่ยวชาญ/สนใจ
สัทศาสตร์,สัทวิทยา,ภาษาไทยถิ่น, ภาษาศาสตร์เชิงสังคม,  อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย, วรรณกรรมวิจารณ์, การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
รายวิชาที่รับผิดชอบ
01361222
การอ่านภาษาไทยเชิงวิจารณ์ (Thai Critical Reading)
01361312
อิทธิพลภาษาต่างประเทศต่อภาษาไทย (Foreign Language Influences on Thai)
01361313
เสียงและระบบเสียงในภาษาไทย (Sounds and Sound System in Thai)
01361314
คำและประโยคในภาษาไทย (Words and Sentences in Thai)
01361331
ภาษาพูดกับภาษาเขียน (Spoken and Written Languages)
02724012
การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality Development)
 
3.ผลงานทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ/ตำราหรือหนังสือ (ที่ได้รับการตีพิมพ์)
 
บทความเรื่อง “ลักษณะการออกเสียงหน่วยเสียงวรรณยุกต์ต่ำ-ขึ้นในภาษาไทยมาตรฐานของคนกำแพงแสน”เอกสารอัดสำเนาประกอบการสัมมนาวิชาการภาษาและภาษาศาสตร์ ประจำปี 2549 เพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ ดร.พิณทิพย์  ทวยเจริญ และอาจารย์ ดร.ศิรินีเจนวิทย์การ  ในวาระอายุครบห้ารอบ (น. 66 – 79). วันศุกร์ที่ 8 กันยายน 2549 ณ ห้องอดุลย์วิเชียรเจริญ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)
 
หนังสือภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (01999021) “บทที่ 1 ความรู้เรื่องการสื่อสาร”,  ศูนย์วิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กรุงเทพฯ:  พิมพ์ครั้งที่ 6,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553
การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ/อบรม (ที่ได้รับอนุมัติจากหน่วยงานต้นสังกัด)
เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การแปลข่าว สารคดี และภาพยนตร์” ระหว่างวันที่ 27 – 28  มีนาคม 2547 ณ โรงแรมตรัง กรุงเทพฯ  โดยสมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 21 เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี คณะมนุษยศาสตร์  ระหว่างวันที่ 11 – 13 พฤษภาคม 2554  ณ อาคารวชิรานุสรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการ “The First International Conference on Thai and Asian Languages” ณ โรงแรมรามา การ์เด้น ในวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม  2554  จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “นโยบายภาษาของประเทศ : ภาวะวิกฤตที่ต้องแก้ไข”      ในวันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม 2554 เวลา 08.00 – 17.00 น. และวันอังคารที่ 30 สิงหาคม  เวลา 08.00 – 16.00 น.  ณ ห้องสัมมนา ชั้น 22  ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์  กรุงเทพมหานคร
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ “Thammasat International Symposium on Language and Linguistics 2011”  ในวันที่ 23 กันยายน 2554  ณ อาคารคณะศิลปศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
 
เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติสมาคมภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 23 ระหว่างวันที่ 29 – 31 พฤษภาคม 2556  ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันอังคาร, ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๑๑:๔๑

ผศ.กาญจนา โรจนพานิช

1.ข้อมูลประวัติส่วนตัว
                                        นางสาวกาญจนา โรจนพานิช
                                        Miss Kanchana Rojanapanich
ตำแหน่งทางวิชาการ             ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ตำแหน่งบริหาร                    หัวหน้าสาขาวิชาภาษาไทย
สังกัดสาขาวิชา                    ภาษาไทย ภาควิชาวิทยาการภาษาและวัฒนธรรม
E-mail                               This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.      โทรศัพท์ภายใน 7224
 
2.ประวัติ / วุฒิการศึกษา (วุฒิย่อ)
ระดับปริญญาตรี                   ศศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง ปีที่จบ. 2534  ประเทศไทย
สาขา                                 ภาษาไทย  
สถาบันที่จบ                         มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตปัตตานี
 
ระดับปริญญาโท                   อ.ม. (ภาษาไทย)  ปีที่จบ..2539.ประเทศไทย
สาขา                                 ภาษาไทย  
สถาบันที่จบ                         มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์                  ภาษากฎหมาย : การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์สังคม
 
3.ผลงานทางวิชาการ
    การใช้ถ้อยคำ สำนวนภาษาทางการเมือง : ภาพสะท้อนจากหนังสือพิมพ์รายวัน
(24 กุมภาพันธ์ ถึง 4 เมษายน 2549)
 
4.โครงการวิจัย
   ไวยากรณ์ไทยฉบับครอบคลุมภาษาย่อย สกว. ผู้ร่วมวิจัย
เริ่มต้นก่อนหน้า12345678910ต่อไปสุดท้าย
หน้าที่ 10 จาก 10

บุคลากร